องค์ประกอบของบทละคร
ละคร เป็นการแสดงที่เป็นเรื่องราว สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิต เรื่องราวต่างๆของคนในสังคม ซึ่งละครที่มีความสมบูรณ์จะต้องประกอบด้วยองค์ของละคร มีดังนี้
1.โครงเรื่อง
ในการแต่งบทละคร จะต้องมีการวางโครงเรื่อง เพื่อสร้างตัวละครให้มีชีวิตเหมือนจริง และจะต้องวางโครงเรื่องว่าจะให้ละครเป็นแนวใด เช่น การวางลักษณะนิสัยของตัวละคร ยกตัวอย่าง ลักษณะนิสัยของผู้ใหญ่ลี ที่เป็นคนเก่ง ขยัน มีความสามารถ ซื่อสัตย์ ยุติธรรม รักเดียวใจเดียว
ซึ่งในการเขียนบทละครจะต้องคำนึงถึงแนวคิดของเรื่องเป็นหลัก เพราะในการเขียนเค้าโครงเรื่องจะต้องถือเอาสถานการณ์และเหตุการณ์ต่างๆ ที่มีความต่อเนื่องให้ัมาสัมพันธ์กัน วางจุดปัญหาและจุดน่าสนใจ ตลอดจนตัวละครมาแก้ปัญหาจนถึงจุดจบของเรื่อง ซึ่งในการเขียนโครงเรื่องมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังนี้
2. ตัวละครและการวางลักษณะนิสัยของตัวละคร
ในการวางลักษณะนิสัยของตัวละครนั้น ผู้เขียนบทละครต้องวางลักษณะของตัวละครในเรื่องทุกตัวว่าจะให้มีนิสัยอย่างไร มีวิถีชีวิตอย่างไร เช่น ลูกชายเศรษฐี มีนิสัยเอาแต่ใจ เสเพล ไม่รู้จักทำงาน เป็นการลักษณะนิสัยของตัวละคร เพื่อให้ผู้ชมสามารถเข้ามจได้ว่าตัวละครแต่ละตัวมีลักษณะนิสัยอย่างไร
การแสดงละครนั้นผู้แสดงจำเป็นต้องถ่ายทอดลักษณะนิสัยของตัวละครนั้นออกมาสู่ผู้ชมได้ถูกต้อง เพื่อนำไปสู่จุดมุ่งหมายของเรื่องตั้งแต่ต้นเรื่องจนจบเรื่อง
3. ความคิดหรือแก่นของเรื่อง
ความคิดหรือแก่นของเรื่อง คือ จุดมุ่งหมายหลักหรือข้อคิดต่างๆ ที่ผู้เขียนบทละครจะสอดแทรกไว้ในเรื่องเพื่อให้ผู้ชมได้รับข้อคิดจากการชมละครนั้น เช่น สอดแทรกในเรื่องของความดีไม่ทำความชั่ว ความรัก ความกตัญญู แนวคิดของเรื่องในแต่ละเรื่องจะแตกต่างกันไป ซึ่งขึ้นอยู่กับผู้เขียน
4. บทสนทนา
1.โครงเรื่อง
ในการแต่งบทละคร จะต้องมีการวางโครงเรื่อง เพื่อสร้างตัวละครให้มีชีวิตเหมือนจริง และจะต้องวางโครงเรื่องว่าจะให้ละครเป็นแนวใด เช่น การวางลักษณะนิสัยของตัวละคร ยกตัวอย่าง ลักษณะนิสัยของผู้ใหญ่ลี ที่เป็นคนเก่ง ขยัน มีความสามารถ ซื่อสัตย์ ยุติธรรม รักเดียวใจเดียว
ซึ่งในการเขียนบทละครจะต้องคำนึงถึงแนวคิดของเรื่องเป็นหลัก เพราะในการเขียนเค้าโครงเรื่องจะต้องถือเอาสถานการณ์และเหตุการณ์ต่างๆ ที่มีความต่อเนื่องให้ัมาสัมพันธ์กัน วางจุดปัญหาและจุดน่าสนใจ ตลอดจนตัวละครมาแก้ปัญหาจนถึงจุดจบของเรื่อง ซึ่งในการเขียนโครงเรื่องมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังนี้
2. ตัวละครและการวางลักษณะนิสัยของตัวละคร
ในการวางลักษณะนิสัยของตัวละครนั้น ผู้เขียนบทละครต้องวางลักษณะของตัวละครในเรื่องทุกตัวว่าจะให้มีนิสัยอย่างไร มีวิถีชีวิตอย่างไร เช่น ลูกชายเศรษฐี มีนิสัยเอาแต่ใจ เสเพล ไม่รู้จักทำงาน เป็นการลักษณะนิสัยของตัวละคร เพื่อให้ผู้ชมสามารถเข้ามจได้ว่าตัวละครแต่ละตัวมีลักษณะนิสัยอย่างไร
การแสดงละครนั้นผู้แสดงจำเป็นต้องถ่ายทอดลักษณะนิสัยของตัวละครนั้นออกมาสู่ผู้ชมได้ถูกต้อง เพื่อนำไปสู่จุดมุ่งหมายของเรื่องตั้งแต่ต้นเรื่องจนจบเรื่อง
3. ความคิดหรือแก่นของเรื่อง
ความคิดหรือแก่นของเรื่อง คือ จุดมุ่งหมายหลักหรือข้อคิดต่างๆ ที่ผู้เขียนบทละครจะสอดแทรกไว้ในเรื่องเพื่อให้ผู้ชมได้รับข้อคิดจากการชมละครนั้น เช่น สอดแทรกในเรื่องของความดีไม่ทำความชั่ว ความรัก ความกตัญญู แนวคิดของเรื่องในแต่ละเรื่องจะแตกต่างกันไป ซึ่งขึ้นอยู่กับผู้เขียน
![]() |
ลิขิตพระลอเป็นเรื่องราวโศกนาฏกรรมความรัก |
![]() |
คู่กรรมเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการสูญเสียความรัก |
4. บทสนทนา
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น