บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2019

ประเภทของวงดนตรีสากล

รูปภาพ
1. วงแชมเบอร์  ลักษณะการประสมวงแชมเบอร์มิวสิก จำแนกตามจำนวนนักดนตรี และเครื่องดนตรี ที่ใช้ประสมวงมีชื่อเรียกวง ดังนี้   1.1 วงดูโอ หรือ ดูเอ็ด  แปลว่า สอง มีผู้บรรเลง 2 คน ประกอบด้วยเครื่องสายหรือเครื่องลม 1 ชิ้น กับเปียโน หรือจะใช้เครื่องสายหรือเครื่องลม 2 ชิ้นก็ได้   1.2 วงทรีโอ แปลว่า สาม มีผู้บรรเลง 3 คน ประสมวงสามแบบ       - วงเปียโนทริโอ ประสมวงด้วย ไวโอลีน เชลโล่ และเปียโน อย่างละ 1 ตัว       - วงสตริงทริโอ ประสมวงด้วย ไวโอลีน  วิโอลา  และเชลโล  อย่างละ 1 ตัว       - วงวูดวินทรีโอ ประสมวงด้วยเครื่องลม 2 ตัว กับเปียโน หรือใช้เครื่องลมประสมกบไวโอลีน  และเปียโน   1.3 วงควอเต็ต แปลว่า สี่ มีผู้บรรเลง 4 คน ประสม 3 แบบ คือ      - วงสตริงควอเต็ต ประสมวงด้วยไวโอลีน 2 คัน วิโอลาและเชลโลอย่างละ 1 คัน      - วงเปียโนควอเต็ต ประสมวงด้วยไวโอลีน วิโอลา และเชลโล อย่างละ 1 คัน กับเปียโน 1 หลัง      - วงวินด์ควอเต็ต ประสมวงด้วย ฟลูต  โอโบ  คลาริเน็ต และบาสซูน อย่างละ 1 ตัว   1.4 วงควินเต็ต  แปลว่า ห้า มีผู้บรรเลง 5 คน ประสมวงได้ 5 แบบ      - นำวงสตริงควอเต็ตมาเพิ่มวิโอลา หรือเชลโล เพ

วิวัฒนาการของดนตรีสากล

 วิวัฒนาการของดนตรีสากลแบ่งตามยุคสมัยได้ดังนี้    1.  ยุคกลาง  มีช่วงระยะเวลายาวนานถึง 450 ปี แบ่งเพลงออกได้สองแบบ คือ เพื่อความบันเทิง และเพลงเกี่ยวกับศาสนา ซึ่งเพลงเกี่ยวกับศาสนายังมีทำนองเดียว  แต่ยุคนี้เริ่มมีเสียงประสานอย่างง่ายที่เรียกว่า  ออกานุม ขึ้นมา ในสมัยนี้นิยมเพลงร้องในพิธีเรียกว่า โมเท็ต และเพลงศาสนาเรียกว่า แมส โดยโมเท็ตจะมีท่วงทำนองที่สั้นกว่า โดยทั้งสองเพลงมีเนื้อร้องเป็นภาษาละติน เป็นที่นิยมมากในประเทศฝรั่งเศสและอิตาลี      ยุคนี้เริ่มมีการบันทึกดนตรีในระบบโน้ตสากลแล้วโดยพระชาวอิตาลี ชื่อ กวิโด ดาเรซโซ ซึ่งเป็นต้นแบบของโน้ตตามที่เราใช้เรียนอยู่ในยุคปัจจุบัน และเริ่มใช้เครื่องดนตรีประเภท ลูต หรือ ซึง คลอตามเสียงร้อง      2. ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ  ยุคนี้เป็นยุคทองของการขับร้องประสานเสียง ซึ่งนิยมขับร้องประสานแบบสี่แนว หรือ สี่กลุ่ม โดยแบ่งเป็น กลุ่มเสียงผู้หญิง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเสียงโซปราโน (เสียงสูงสุด)  กับกลุ่มเสียงอัลโต (เสียงต่ำของผู้หญิง) และกลุ่มเสียงของผู้ชาย มี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเสียงเทเนอร์ (เสียงสูงผู้ชาย) กับกลุ่มเสียงเบส (เสียงต่ำผู้ชาย)  เพลงที่ไม่เกี่

มาตราเสียงของดนตรีไทย

รูปภาพ
  มาตราเสียงของดนตรีไทย    ระดับเสียงหลักของดนตรีไทยมีทั้งหมด 7 เสียง คือ โด เร มี ฟา ซอล  ลา ที เช่นเดียวกับดนตรีสากล ทุกระดับเสียงมีระยะห่างกัน 1 เสียงเต็มเท่าๆกันทุกเสียงต่างจากดนตรีสากลคือ ไม่มีระยะครึ่งเสียง ขอยกตัวอย่างเปรียบเทียบดังต่อไปนี้ ระดับเสียงดนตรีสากล       #           #                   #             #          #  ด  ด     ร     ร     ม    ฟ    ฟ    ซ     ซ    ล    ล    ท       ด ระดับเสียงดนตรีไทย ด     ร     ม     ฟ      ซ      ล      ท      ด ทำนองเพลงของดนตรีไทย    ทำนอง   หมายถึง  เสียงระดับต่างๆ มีทั้งสูง    ต่ำ  สั้น  ยาว ที่ผู้ประพันธ์ได้นำมาเรียบเรียงให้สอดประสานกันอย่างกลมกลืน ไพเราะ แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ทำนองบรรเลง และ ทำนองร้อง  1. ทำนองบรรเลง (ทางเครื่อง)  หมายถึง ทำนองที่ผู้ประพันธ์ ประพันธ์ขึ้นสำหรับให้เครื่องดนตรีต่างๆบรรเลง โดยผู้ประพันธ์จะประพันธ์ทำนองหลัก (ทางฆ้อง) ขึ้นก่อน จากนั้น ผู้บรรเลงเครื่องดนตรีอื่นๆ จะพลิกแพลงหรือแปรทำนองให้เหมาะสมกับเครื่องดนตรีแต่ละชนิด 2. ทำนองร้อง (ทางร้อง) หมายถึง ทำนองที่ประพันธ์ขึ้นสำหรับให้ผ