บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ตุลาคม, 2020

องค์ประกอบนาฏศิลป์

รูปภาพ
       การแสดงงนาฏศิลป์ไไทย เป็นการแสดงที่่มีความสวยงามและเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย ซึ่งการแสดงที่มีคววามสมบูรณ์  สวยงาม  จะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบขอองนาฏศิลป์ ดังนี้       1. จังหวะ ทำนอง         จังหวะเป็นสิ่งสำคัญในการแสดงนาฏศิลป์ ถือเป็นพื้นฐานของการแสดง เพราะผู้แสดงจะต้องทำความเข้าใจจังหวะ รวมวถึงทำนองของบทเพลงอยู่เสมอ  เพื่อให้แสดงได้ถูุกต้องตรงตามจังหวะและทำนองเพลง ทำให้การแสดงมีความสวยงาม  และหากเป็นการแสดงหมู่จะทำให้กากรแสดดงมีความพร้อมเพรียง อีกทั้งจังหวะยังมีส่วนสำคัญในการแปรแถวในการแสดงมีคววามสวยงาม       2. การเคลื่อนไหว         การเคลื่อนไหวในการแสดงนาสิลป์ เป้นการเคลื่อนไหวท่าทางการร่ายรำให้เหมาะสมกับการแสดง โดยมีความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่องและบทขับร้อง        กากรเคลื่อนไหวในการแสดงเป็นสิ่งที่ทำให้การแสดงมีความสมบูรณ์  สวยงาม  และน่าสนใจ อีกทั้งยังทำให้กาแสดงมีเอกลักษณ์  เช่น กรแสดงระบำตารีกีปัส จะมีการเคลื่อนไหวในการแสดง โดยเปลี่ยนรูปแถว ท่่ารำในการแสดดง ทำให้การแสดงน่าสนใจมากขึ้น         3.อารมณ์และความรู้สึก           การแสดงนาฏศิลป์ไทยเป็นการแสดงที่ต้องถ่ายทอดอารมณ์แลด

การประดิษฐ์ท่ารำและท่าทางประกอบการแสดง

รูปภาพ
              1. ความหมายและความเป็นมาของการประดิษฐ์ท่ารำ               นาฏศิลป์ไทย  เป็นการแสดงที่เกิดจากการเคลื่อนไหวท่าทางต่างๆ ให้มีความสวยงาม เพื่อสื่อความหมายในการแสดงให้ผู้ชมได้เข้าใจ ซึ่งท่าทางต่างๆในการแสดง  จะเป็นท่าทางที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบกิริยา  อาการธรรมชาติของมนุษย์  สัตว์  สิ่งของ แล้วนำมาประดิษฐ์เป็นท่าทางต่างๆ เพื่อใช้ในการแสดง  โดยมีจุดประสงค์เพื่อสื่อความหมายดดยใช้ท่าทางแทนคำพูด เช่น  ท่ารัก    ท่าดีใจ 2. หลักการในการประดิษฐ์ท่ารำ     การศึกษาทางด้านนาฏศิลป์มีความเจริญก้าวหน้าพัฒนามาตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน  มีการจดบันทึกท่ารำเป็นแบบแผนต่อเนื่องมา  มีครูอาจารย์ได้ถ่ายทอดความรู้ทางนาฏศิลป์ให้กับลูกศิษย์  โดยยึดถือแนวทางของครูรุ่นก่อน  การประดิษฐ์ท่ารำแต่ละท่าจะแสดงออกจะแสดงออกจากอวัยวะภายนอกของร่างกายให้มีลีลาที่งดงาม      ในการประดิษฐ์ท่ารำ  ผู้คิดประดิษฐ์ท่ารำต้องมีความสามารถในการตีความหมายของบทร้อง บทประพันธ์ต่างๆ  เพื่อให้สามารถประดิษฐ์ท่ารำได้สัมพันธ์กับบทร้อง  ขั้นตอนที่ใช้ประดิษฐ์เริ่มจาก      1.ศึกษาบทที่แสดง  โดยการอ่านบทละคร  พิจารณาเรื่องราวและบทบาทขอ

การแสดงนาฏศิลป์

รูปภาพ
           การแสดงนาฏศิลป์  ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  ซึ่งนักเรียนจะได้ศึกษามีดังต่อไปนี้          1. การแสดงหมู่          2. การแสดงเดี่ยว          3. การแสดงละคร         4. การแสดงเป็นชุดเป็นตอน     1. การแสดงหมู่               การแสดงเป็นหมู่ คือการแสดงที่มีผู้แสดงตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป  ใช้เพลงบรรเลง  ประกอบการแสดงทั้งมีเนื้อร้องและไม่มีเนื้อร้อง  เน้นความความพร้อมเพรียง   ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างการแสดง เซิ้งโปงลาง        เซิ้งโปงลาง                  เซิ้งโปงลาง เป็นการแสดงของชาวไทยภาคอีสาน นิยมเล่นกันมากใน จังหวัดกาฬสินธุ์ การแสดงจะมีทั้งหญิงและชาย ใช้ท่ารำที่ประดิษฐ์ขึ้นตามทำนองเพลง อันเกิดจากความบันดาลใจ ด้วยลีลาแคล่วคล่องว่องไว ใช้ดนตรีโปงลางซึ่งเป็นเครื่องดนตรีทำด้วยไม้เนื้อแข็ง ร้อยต่อกันเหมือนระนาดแต่ใหญ่กว่า ใช้ผู้ตีสองคน คนตีคลอเสียงประสาน เรียกว่า ตีลูกเสิฟ และอีกคนตีเป็นทำนอง เรียกว่า ตีลูกเสพ มีจังหวะที่เร้าใจและสนุกสนาน เป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของ เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง โปงลาง, แคน, พิณ, ซอ, ฉาบ, ฉิ่ง, กลอ        2. การแสดงเดี่ยว             การแสดงเดี่ยว  คือ ก