บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มิถุนายน, 2020

ศิลปินทัศนศิลป์ สาขาจิตรกรรม

รูปภาพ
             ศิลปินทัศนศิลป์สาขาจิตรกรรมได้สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ดดยผ่านภาษาภาพที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตา หรือเรียกว่า  ผลงานศิลปะแบบ 2 มิติ   โดยใช้องค์ประกอบต่างๆของทัศนธาตุ  พร้อมกับใช้เทคนิค  วิธีการ สร้างสรรค์ผลงานตามความถนัด  ความเชี่ยวชาญเฉพาะบุคคลผ่านวัสดุ  หรือสื่ออย่างหลากหลาย  ซึ่งเทคนิค วิธีการบางอย่างได้กลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ  เมื่อมองเห็นผลงานแล้วสามารถจะบอกได้ว่าเป็นผลงานของใคร  ดังจะขอยกตัวอย่างศิลปินบางท่านมาเป็นแนวทางในการศึกษา  ดังต่อไปนี้         ฟินเชนต์  วิลเลียม ฟานก็อกฮ์  (Vincent  Willem Van Gogh)    ฟินเชนต์  วิลเลียม ฟานก็อกฮ์ (ค.ศ.1853 - 1890) จิตรกรชาวดัตช์ผู้อาภัพ  มีชีวประวัติที่แปลกจนได้รับความสนใจจากบุุคคลทั่วไป  ผลงานที่ได้รับการยอมรับและมีชื่อเสียงของเขามีเป็นจำนวนมาก  เช่นภาพดอกทานตะวัน (Sunflowers) ภาพราตรีประดับดาว (The Starry Night)  ภาพคนกินมันฝรั่ง (The potato Eaters) เป็นต้น ซึ่งจะขอยกตัวอย่างบางภาพที่มีเทคนิค  วิธีการเฉพาะ ที่สะท้อนตัวตนของเขาได้เป็นอย่างดีมานำเสนอ The potato Eaters  (ค.ศ.1885) เทคนิคภาพวาดสีน้ำมันบนผืนผ้าใบ      T

การวิเคราะห์ทัศนธาตุและการออกแบบในงานทัศนศิลป์

รูปภาพ
      ทัศนศิลป์  (Visual  Art) หมายถึง ผลงานศิลปะที่เกิดจากการแสดงออกทางการสร้างสรรค์ของมนุษย์เพื่อประโยชน์ในด้านต่างๆ   ซึ่งสามารถจำแนกผลงานตามรูปแบบได้เป็น 4 ประเภท  ได้แก่ งานจิตรกรรม  (Painting) งานประติมากรรม (Sculpture) งานสถาปัตยกรรม (Architecture)  และงานพิมพ์ (Printing) โดยผู้สร้างสรรค์หรือศิลปินแต่ละท่านจะเป็นผู้นำเอาองคืประกอบต่างๆ ทางทัศนธาตุมาออกแบบตามหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ให้เกิดเป็นผลงานทัศนศิลป์ขึ้นมาตามแนวคิด  หรือจินตนาการของตน  ซึ่งการเลือกใช้ทัศนธาตุอาจเกิดจากความตั้งใจและไม่ตั้งใจ    ดังนั้น ในผลงานทัศนศิลป์ทุกชิ้นจึงมีทัศนธาตุปรากฏอยู่ ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างการวิเคราะห์ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในงานทัศนศิลป์มาเป็นกรณีศึกษา 2 ผลงาน ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 รูปทรงของแสงบนพื้นที่ของเงา รูปทรงของแสงบนพื้นที่ของเงา (พ.ศ.2521) ผลงานของปรีชา  เถาทอง เทคนิคภาพวาดสีอะคริลิกและสีน้ำมันบนผืนผ้า     ผลงานชิ้นนี้เป็นผลงานจิตรกรรมของอาจารย์ปรีชา  เถาทอง  ศิลปินแห่งชาติ  สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ประจำปีพุทธศักราช 2552  มีชื่อว่า รูปทรงของแสงบนพื้นที่ของเงา   

ทัศนศิลป์ ม.3

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ การวิเคราะห์ทัศนธาตุและการออกแบบในสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์ทัศนธาตุและการออกแบบในงานทัศนศิลป์ หน่วยการเรียนรู้ ที่ 2 เทคนิควิธีการในการสร้างงานทัศนศิลป์ของศิลปิน ศิลปินทัศนศิลป์ สาขาจิตรกรรม

การวิเคราะห์ทัศนธาตุและการออกแบบในสิ่งแวดล้อม

รูปภาพ
       การวิเคราะห์ทัศนธาตุในสิ่งแวดล้อม  หมายถึง การพิจารณาแยกแยะลักษณะต่างๆ ที่พบเห็นในสิ่งแวดล้อมว่า ส่วนใดเป็นจุด  เป็นเส้น พื้นผิวเป็นเงามัน  ขรุขระ  หรือเป็นรูปทรง  สีสัน  มีน้ำหนักอ่อน - แก่อย่างไร รวมทั้งการปล่อยพื้นที่ว่างในผลงานมีมากน้อยเพียงใด  ซึ่งความสามารถในการจำแนกแยกแยะและการสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้นั้น จำเป็นต้องให้ความรู้เรื่องทัศนธาตุซึ่งเป็นความรู้เฉพาะทางด้านทัศนศิลป์เป็นหลักในการอธิบาย  รวมไปถึงลักษณะในการออกแบบว่ามีความเป็นเอกภาพ  ความกลมกลืน  และความสมดุลมากน้อยเพียงใด  ซึ่งสามารถแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่     1. ทัศนธาตุและการออกแบบในสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ    เป็สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นท้องฟ้า  ดอกไม้  ผีเสื้อ รุ้ง  น้ำตก  ดวงดาว  ทะเล  ป่าไม้  ภูเขา  และอื่นๆ อีกมากมาย ล้วนมีความงดงามผสมผสานอยู่ ซึ่งสามารถคัดเลืออกมาวิเคราะห์เพื่อให้เห็นถึงทัศนธาตุและหลักการออกแบบได้     สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ       2. ทัศนธาตุและการออกแบบในสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น    โดยมนุษย์ได้สร้างสรรค์สิ่งต่

โน้ตลายเต้ยพม่า

รูปภาพ
ลายเต้ยพม่าสำหรับโหวดระบบ 5 เสียง ลายเต้ยพม่าสำหรับเครื่องดนตรีประเภทอื่นที่มีระบบเสียง  7 เสียง 

โน้ตลายเต้ยโขง

รูปภาพ

โน้ตลายเต้ย

รูปภาพ

โน้ตลายนกไซบินข้ามทุ่ง

รูปภาพ

โน้ตลายโปงลาง

รูปภาพ

การอ่านโน้ต

รูปภาพ
     การฝึกเรียนดนตรีพื้นบ้านอีสาน  นอกจากการฟังแล้ว ผู้ฝึกจำเป็นต้องศึกาาโน้ตดนตรีพื้นบ้าน เพื่อง่ายต่อการฝึกหัดเบื้องต้นและการบรรเลงเพลงในกรณีที่จำเพลงนั้นไม่ได้  เพราะปัจจุบันมีเพลงจำนวนมาก  สำหรับการอ่านโน้ตดนตรีพื้นบ้านใช้หลักการอ่านแบบโน้ตเพลงไทยเดิม หรือโน้ตไทย ซึ่งมีโครงสร้างดังนี้      1.ห้องเพลง      2.จังหวะ      3.ตัวโน้ต  ห้องเพลง ใน 1 บรรทัด กำหนดให้มี 8 ห้องเพลง  คือ จังหวะ ในแต่ละห้องเพลงจะมีจังหวะคงที่ 4 จังหวะ จังหวะเคาะ เครื่อง  V   คือ เคาะจังหวะที่ 4 (จังหวะตก) ใช้เครื่องหมาย - แทน 1 จังหวะ  * V  หมายถึง การเคาะเท้า หนึ่งครั้ง หรือ การปรบมือหนึ่งครั้ง เท่ากับ 1 จังหวะ ตัวโน้ต     โน้ตเพลงไทยมี 7 เสียง คือ โด   เร   มี   ฟา   ซอล    ลา  ที      อักษรย่อภาษาอังกฤษ         C   D   E    F      G        A    B      ใช้อักษรย่อแทนชื่อตัวโน้ต   ด   ร    ม    ฟ     ซ        ล    ท สัญลักษณ์ทางดนตรี  1. เครื่องหมายระดับเสียง  ํ เช่น  มํ หมายถึง เสียง มี สูง  ถ้า ฺ  อยู่ล่างตัวโน้ต เช่น  มฺ หมายถึง เสียง มี ต่ำ  2. เครื่องหมายย้อนกล

แบบฝึกที่ 6 ลายเต้ยโขง

รูปภาพ
     การเป่าโหวดลายเต้ยโขง ลายใญ่ (Am) ให้นับจังหวะ 1 2 3 4 ในใจอย่างสม่ำเสมอ หรือเคาะปลายเท้าลงจังหวะที่ 4  ควรฝึกอย่างช้าๆก่อน เมื่อเข้าใจแล้ว ค่อยฝึกจังหวะเร็วขึ้น  โดยการฝึกในเบื้องต้นให้เป่า ตามสัญลักษณ์เส้นโยง กล่าวคือ เป่าลมยาวลมเดียวให้ได้ตัวโน้ต 4 ห้องเพลงโน้ต ต่อไปนี้ แบบฝึกที่ 6.1 แบบฝึกที่ 6.2 แบบฝึกที่ 6.3 แบบฝึกที่ 6.4 หมายเหตุ               เครื่องหมาย หมายถึง ฝึกลมยาวลมเดียวให้ได้ตัวโน้ต 4 ห้องเพลง

แบบฝึกที่ 5

รูปภาพ
        ให้เป่าเสียง   ลา   โดยขยับริมฝีปากให้ตรงกับลูกโหวดเสียงลา ใช้การนับในใจหรือเคาะปลายเท้าลงจังหวะที่ 4 อย่างสม่ำเสมอ เป่าตามจังหวะซ้ำหลายๆรอบจนเข้าใจ  ตามแบบฝึกต่อไปนี้ แบบฝึกที่ 5.1 ฝึกเป่าในจังหวะ 1,2,3,4  เป่าครั้งละหนึ่งเสียง (1 ลม ต่อ 1 เสียง) แบบฝึกที่ 5.2 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 2,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง (1 ลม ต่อ 1 เสียง) แบบฝึกที่ 5.3 ฝึกเป่าใจังหวะ 2,3,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง (1 ลม ต่อ 1 เสียง) แบบฝึกที่ 5.4 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 2,4 และ 2,3,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง  (1 ลม ต่อ 1 เสียง) แปบบฝึกที่ 5.5 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 4 และ 2,3,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง (1 ลม ต่อ 1 เสียง) แบบฝึกที่ 5.6  ฝึกเป่าในจังหวะที่ 4 และ (1,2,4) (1,2,4) (1,2,4) เป่าครั้งละหนึ่งเสียง  ( 1 ลม ต่อ 1 เสียง)

แบบฝึกที่ 4

รูปภาพ
    ให้เป่าเสียง   ซอล   โดยขยับริมฝีปากให้ตรงกับลูกโหวดเสียงซอล  ใช้การนับในใจหรือเคาะปลายเท้าลงจังหวะที่ 4 อย่างสม่ำเสมอ เป่าตามจังหวะซ้ำหลายๆรอบจนเข้าใจ  ตามแบบฝึกต่อไปนี้ แบบฝึกที่ 4.1 ฝึกเป่าในจังหวะ 1,2,3,4  เป่าครั้งละหนึ่งเสียง (1 ลม ต่อ 1 เสียง) แบบฝึกที่ 4.2 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 2,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง (1 ลม ต่อ 1 เสียง) แบบฝึกที่ 4.3 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 2,3,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง (1 ลม ต่อ 1 เสียง) แบบฝึกที่ 4.4 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 2,4 และ 2,3,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง ( 1 ลม ต่อ 1 เสียง) แบบฝึกที่ 4.5 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 4 และ 2,3,4  เป่าครั้งละหนึ่งเสียง (1 ลม ต่อ 1 เสียง) แบบฝึกที่ 4.6 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 4 และ (1,2,4) (1,2,4) (1,2,4) เป่าครั้งละหนึ่งเสียง  ( 1 ลม ต่อ 1 เสียง)

แบบฝึกที่ 3

รูปภาพ
   ให้เป่าเสียง มี โดยขยับริมฝีปากให้ตรงกับลูกโหวดเสียง มี  ใช้การนับในใจหรือเคาะปลายเท้าลงจังหวะที่ 4 อย่างสม่ำเสมอ  เป่าตามจังหวะซ้ำหลายๆรอบ  จนเข้าใจ ตามแบบฝึกต่อไปนี้ แบบฝึกที่ 3.1 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 1,2,3,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง  (1 ลม ต่อ 1เสียง) แบบฝึกที่ 3.2 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 2,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง (1 ลม ต่อ 1เสียง) แบบฝึกที่ 3.3 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 2,3,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง  ( 1 ลม ต่อ 1 เสียง) แบบฝึกที่ 3.4 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 2,4 และ 2,3,4  เป่าครั้งละหนึ่งเสียง (1 ลม ต่อ 1 เสียง) แบบฝึกที่ 3.5 ฝึกเป่าจังหวะที่ 4 และ 2,3,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง  ( 1 ลม ต่อ 1เสียง) แบบฝึกที่ 3.6  ฝึกเป่าในจังหวะที่ 4 และ (1,2,4) (1,2,4) (1,2,4) เป่าครั้งละหนึ่งเสียง ( 1 ลม ต่อ 1 เสียง)

แบบฝึกที่ 2

รูปภาพ
    ให้เป่าเสียง  เร   โดยขยับริมฝีปากให้ตรงกับลูกโหวดเสียงเร  ใช้การนับในใจหรือเคาะปลายเท้าลงจังหวะที่ 4 อย่างสม่ำเสมอ  เป่าตามจังหวะซ้ำหลายๆรอบจนเข้าใจ ตามแบบฝึกต่อไปนี้ แบบฝึกที่ 2.1 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 1,2,3,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง (1 ลม ต่อ 1เสียง) แบบฝึกที่ 2.2 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 2 , 4 เป่าครั้งละเสียง (1 ลม ต่อ 1 เสียง) แบบฝึกที่ 2.3 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 2,3,4 แบบฝึกที่ 2.4 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 2,4 และ 2,3,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง  (1 ลม ต่อ 1  เสียง) แบบฝึกที่ 2.5 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 4 และ 2,3,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง  (1 ลม ต่อ 1เสียง) แบบฝึกที่ 2.6 ฝึกเป่าในจังหวะที่ 4 และ (1,2,4 ) (1,2,4 ) (1,2,4 ) เป่าครั้งละหนึ่งเสียง  (1 ลม ต่อ 1เสียง)