โครงสร้างรายวิชา ดนตรี - นาฏศิลป์ ม.1

ลำดับที่
ตัวชี้วัด
คะแนน
1
ศ2.1 
ม.1/1   อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากล

5
2
ม.1/2  เปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน
7
3
ม.1/3  ร้องเพลงและใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงทำหลากหลายรูปแบบ

7
4
ม.1/4  จัดประเภทของวงดนตรีไทยและวงที่มาจากวัฒนธรรมต่างๆ
7
5
ม.1/5  แสดงความคิดเห็นที่มีต่ออารมณ์ชองบทเพลงที่มีความเร็วของจังหวะและความดัง-เบา แตกต่างกัน

7
6
ม.1/6 เปรียบเทียบอารมณ์  ความรู้สึกในการฟังดนตรีแต่ละประเภท
7
7
ม.1/8 ใช้เกณฑ์สำหรับประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือเพลงที่ฟัง
5
8
ม.1/9 ใช้และบำรุงรักษาเครื่องดนตรีอย่างระมัดระวังและรับผิดชอบ
5
9
ศ2.2
ม.1/1 อธิบายบทบาทความสัมพันธ์และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมไทย

5
10
ม.1/2 ระบุความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในวัฒนธรรมต่างกัน
7
11
ศ3.1
ม.1/1 อธิบายอิทธิพลของนักแสดงชื่อดังที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชม

7
12
ม.1/2 ใช้นาฏศัพท์และการละครในการแสดง
7
13
ม.1/3 แสดงนาฏศิลป์และละครในรูปแบบง่ายๆ
7
14
ม.1/4 ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง
7
15
ศ3.2
ม.1/1   ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นฐาน ละครไทย และละครพื้นบ้าน


5
16
ม.1/2   บรรยายประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมัย
5
รวม
100

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์

เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ในดนตรีสากล

วิวัฒนาการของดนตรีไทยในแต่ละยุคสมัย (สมัยรัตนโกสินธ์)