ประเภทเครื่องดนตรีไทย

                       กาจำแนกปะเภทของเครื่องดนตรีไทย พิจารณาจากการกระทำให้เกิดเสียงได้ 4 ประเภท คือ เครื่องดีด    เครื่องสี     เครื่องตี    เครื่องเป่า

1. เครื่องดีด   เป็นเครื่องดนตรีที่มีสาย  และกะโหลกหรือกล่องเสียงเป็นส่วนประกอบสำคัญ  ทำให้เกิดเสียงโดยการใช้นิ้วหรือไม้ดีดไปที่สายให้สายสั่นสะเทือน  เช่น จะเข้  กระจับปี่  พิณน้ำเต้า   พิณเปี๊ยะ  เป็นต้น



จะเข้














กระจับปี่















2. เครื่องสี  เป็นเครื่องดนตรีที่ดัดแปลงมาจากดครื่องดีด  มีสายและกะโหลกเสียงเป็นส่วนประกอบที่สำคัญเช่นเดียวกับเครื่องดีด  ทำให้เกิดเสียงโดยใช้คันชักสีที่สาย  เช่น ซอสามสาย  ซออู้   ซอด้วง สะล้อ
ซออู้

ซอด้วง





3. เครื่องตี   แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้
     3.1 เครื่องตีที่ทำด้วยไม้   เช่น  เกราะ  กรับ  ระนาดทุ้ม  โปงลาง เป็นต้น
ระนาดเอก
ระนาดทุ้ม
กรับ

            3.2 เครื่องตีทำด้วยโลหะ  เช่น ฉิ่ง  ฉาบ  ระนาดเอกเหล็ก   ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องวงใหญ่   ฆ้องวงเล็ก   โหม่ง

























 3.3 เครื่องตีที่ขึงด้วหนัง ประกอบด้วยกลองชนิดต่างๆ

ตะโพน




กลองแข















4. เครื่องเป่า แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
   4.1 เครื่องเป่าที่ไม่มีลิ้น  เช่น ขลุ่ยหลีบ   ขลุ่ยเพียงออ  ขลุ่ยอู้  สังข์  เป็นต้น


ขลุ่ยอู้










         4.2 เครื่องเป่ามีลิ้น  เช่น ปี่นอก   ปี่ใน  ปี่ชวา  ปี่มอญ  ปี่อ้อ   แคน เป็นต้น
เพิ่มคำอธิบายภาพ

เพิ่มคำอธิบายภาพ

เพิ่มคำอธิบายภาพ

เพิ่มคำอธิบายภาพ

แคน

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์

เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ในดนตรีสากล

วิวัฒนาการของดนตรีไทยในแต่ละยุคสมัย (สมัยรัตนโกสินธ์)