การถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของบทเพลง

              1. จังหวะกับอารมณ์เพลง 
               จังหวะ  มีส่วนประกอบในตัวจังหวะเอง 3 ส่วนคือ กลุ่มจังหวะนับลักษณะการเคาะจังหวะ และอัตราช้า- เร็วของการดำเนินจังหวะทั้ง 3 ส่วนประกอบ  ต้องบรรเลงไปพร้อมกันเป็น  จังหวะเดียวกัน มีอิทธิพลต่อการถ่ายทอดออารมณ์ต่างๆได้ เช่น จุดเน้นหนัก - เบา ที่สม่ำเสมอของจังหวะ เปรียบเสมือนชีพจรของบทเพลง และดนตรี ทำใหู้้ังร้สึกมีชีวิตชีวา หรือลักษณะการเคาะจังหวะตามแบบรูปของสไตล์เพลง และดนตรี สามารถถ่ายทอดใหู้้ังเกิดอารมณ์ร่าเริง ตื่นเต้น ่อนคลาย หรือโศกเศร้าได้ตามสไตล์นั้นๆ เป็นต้น



           2. ความดัง - เบากับอารมณ์เพลง
               ความดัง - เเบากับอารมณ์เพลงเกิดจากเนื้อดนตรีที่มีความหนาแน่นของตัวโน้ต หรือของแนวดนตรีที่แตกต่างกัน ยิ่งหนาแน่นมากยิ่งดังมาก และอารมณ์ของู้ังก็จะันวน หรือเปลี่ยนแปลงตาม เช่น ยิ่งเสียงดังยิ่งถ่ายทอดอารมณ์เครียด และตื่นเต้น เสียงที่ค่อยๆ เบาลง จะถ่ายทอดอารมณ์ค่อยๆ คลายความเครียด หรือ รู้สึกสบาย เป็นต้น




                3. ความแตกต่างของอารมณ์เพลง
                 เมื่อเราังเพลงที่มีโครงสร้าง หรือส่วนประกอบแตกต่างกันย่อมจะทำให้เกิดอารมณ์ควมรู้สึกแตกต่างกันไปในแต่ละเพลง ซึ่งอารมณ์ที่จะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลังเพลง ถ้าจำแนกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ จะได้ 2 อารมณ์ คือ
               - อารมร์ด้านบวก Positive  feeling  ได้แก่ อารมณ์ที่เป็นสุขต่างๆ เช่น ร่างเริง เบิกบาน หวาน รัก มีกำลังใจ เป็นต้น
               - อารมณ์ด้านลบ  Negative  feeling  ได้แก่ อารมณ์ที่เป็นทุกข์ต่างๆ  เช่น เศร้า เครียด ท้อถอย เป็นต้น  ซึ่งบทเพลงทุกเพลงจะมีอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งดังกล่าวนี้ เป็นแก่นสารของเพลง




ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์

เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ในดนตรีสากล

วิวัฒนาการของดนตรีไทยในแต่ละยุคสมัย (สมัยรัตนโกสินธ์)