แบบฝึกที่ 3

   ให้เป่าเสียง มี โดยขยับริมฝีปากให้ตรงกับลูกโหวดเสียง มี  ใช้การนับในใจหรือเคาะปลายเท้าลงจังหวะที่ 4 อย่างสม่ำเสมอ  เป่าตามจังหวะซ้ำหลายๆรอบ  จนเข้าใจ ตามแบบฝึกต่อไปนี้

แบบฝึกที่ 3.1
ฝึกเป่าในจังหวะที่ 1,2,3,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง  (1 ลม ต่อ 1เสียง)

แบบฝึกที่ 3.2
ฝึกเป่าในจังหวะที่ 2,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง (1 ลม ต่อ 1เสียง)


แบบฝึกที่ 3.3
ฝึกเป่าในจังหวะที่ 2,3,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง  ( 1 ลม ต่อ 1 เสียง)


แบบฝึกที่ 3.4
ฝึกเป่าในจังหวะที่ 2,4 และ 2,3,4  เป่าครั้งละหนึ่งเสียง (1 ลม ต่อ 1 เสียง)

แบบฝึกที่ 3.5
ฝึกเป่าจังหวะที่ 4 และ 2,3,4 เป่าครั้งละหนึ่งเสียง  ( 1 ลม ต่อ 1เสียง)

แบบฝึกที่ 3.6 
ฝึกเป่าในจังหวะที่ 4 และ (1,2,4) (1,2,4) (1,2,4) เป่าครั้งละหนึ่งเสียง ( 1 ลม ต่อ 1 เสียง)




ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์

เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ในดนตรีสากล

วิวัฒนาการของดนตรีไทยในแต่ละยุคสมัย (สมัยรัตนโกสินธ์)